您现在的位置是:DailyThai > สำรวจ
【24 huay】จับสัญญาณ ทำแท้งรธน.ใหม่ | เดลินิวส์
DailyThai2024-11-16 02:39:00【สำรวจ】6人已围观
简介ถ้าจำกันได้ เมื่อครั้งหาเสียงเลือกตั้งปี 61 แต่ละพรรคการเมืองทำสัตยาบรรณยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ โดยแก้ไ 24 huay
ถ้าจำกันได้ เมื่อครั้งหาเสียงเลือกตั้งปี 61 แต่ละพรรคการเมืองทำสัตยาบรรณยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ โดยแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 ว่าด้วยการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้ยกร่างฉบับใหม่ เพราะปัญหาของบทเฉพาะกาล 5 ปี คือให้ สว.ชุดที่ คสช.แต่งตั้ง เลือกนายกรัฐมนตรี ได้ 2 ครั้ง อีกทั้ง สว.ยังมีอำนาจในการเลือกองค์กรอิสระ และกำหนดให้รัฐบาลต้องทำตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ก็เลี่ยงไม่ได้ที่จะถูกมองว่าเป็นการวางหมากเพื่อสืบทอดอำนาจ คสช.อีกสมัย
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์แต่ยังเถียงกันไม่จบว่าทำประชามติ 2 หรือ 3 ครั้ง กฎหมายประชามติจะพบกันครึ่งทางตามที่ฝ่าย สส. เสนอให้ชั้นแรกของประชามติใช้แค่ ร้อยละ20 ของผู้มีสิทธิ์หรือไม่ ถ้าพูดกันจริงๆ การใช้เสียง 2 ชั้น อาจทำให้ประชาชนเบื่อในการออกเสียงครั้งที่ 2 ที่ต้องรับรองมาตรา 256 ที่สองสภาแก้เสร็จ และจะได้เสียงไม่พอ ซึ่งมีคำถามตามมา ว่า “เช่นนั้นต้องแก้ มาตรา256 ซ้ำหรือไม่?”
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์อาจคิดได้ว่า ถ้าประชามติครั้งที่ 2 ไม่ผ่าน ก็แก้ ม.256 เพื่อให้มีสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ( ส.ส.ร.) ไปเรื่อยๆแล้วถ้าประชามติซ้ำแล้วซ้ำเล่า งบประมาณจะถูกผลาญไปแค่ไหน จัดทำประชามติหนึ่งครั้งก็หลักพันล้านต้องตัดงบมาเพื่อการนี้เท่าไร ยังไม่พูดถึงงบประมาณในการยกร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ แล้วมันจะเสร็จทันเลือกตั้งปี 70หรือเปล่า ? อะไรๆ ก็ไม่แน่ไม่นอน
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์ผู้ที่ส่งสัญญาณคนแรก คือนายนิกร จำนง ผอ.พรรคชาติไทยพัฒนา ( ชทพ.) ทำนองว่า “อย่างไรก็ไม่ทัน ”ดูจากอุปสรรคชั้นกฎหมายประชามติ ยังไม่ต้องพูดถึงกระบวนการแก้ ม.256 ด้วยซ้ำ ที่จะต้องออกแบบ ส.ส.ร.ก็ต้องดูเล่ห์เหลี่ยมนักการเมืองอีก ว่าจะให้กระบวนการได้มาซึ่ง ส.ส.ร.เป็นแบบไหนซึ่งฝ่ายการเมืองแต่ละฝ่ายก็ต้องคิดหาวิธีให้ฝ่ายตัวเองได้เปรียบ
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์ประชาชนเอง เมื่อเห็นรัฐธรรมนูญถ่วงอยู่ไม่รู้แล้ว ก็คงมี 2 ความเห็น คือ “ต้องสู้ต่อไป” หรือ “กลับมาตั้งคำถามว่าทำไมถึงกระเหี้ยนกระหือรือจะแก้นัก ให้ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติทำงานที่เป็นประโยชน์กับปากท้องค่าครองชีพดีกว่าไหม ?” และอาจไปถึงการตั้งคำถามว่า “พ้นบทเฉพาะกาลมาแล้ว ปัญหามันอยู่ตรงไหนอีกที่ต้องยกร่างใหม่ ?”
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์ส่วนพรรคเพื่อไทยนั้น ดูเหมือนจะ..อะไรก็ได้..ไปแล้ว นาทีนี้ให้ซีน “นายกฯอิ๊งค์” แพทองธาร ชินวัตร ทำงานดีกว่า พรรคที่น่าจับตาเพราะเสียง สส.ในสภาเยอะ และ “ถูกมองว่ามีสายสัมพันธ์ที่ดีกับ สว.” คือ พรรคภูมิใจไทย ..มีคำถามว่า “จะเอาอย่างไร?”
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์เพราะล่าสุดเมื่อวันที่ 4 พ.ย.67 “นายกฯอิ๊งค์” เชิญพรรคร่วมรัฐบาลเข้าพบ มีท่าทีที่น่าสนใจจาก “เลขาฯนก” ไชยชนก ชิดชอบ สส.บุรีรัมย์ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ลูกชาย “ครูใหญ่” เนวิน ชิดชอบ ให้สัมภาษณ์ในทำนองว่า “เร็วหรือช้าไม่สำคัญ กระบวนการต้องไม่ผิดและพูดกันแต่ว่าจะแก้รัฐธรรมนญ แต่ไม่บอกว่า เกี่ยวพันกับการแก้ปัญหาปากท้องประชาชนอย่างไร ยังไม่พูดเลยว่าจะแก้ตรงไหน พูดแต่ว่าจะแก้”
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์พรรคภูมิใจไทยเป็นตัวแปรทางการเมืองที่สำคัญในสภา เมื่อ “สายตรงครูใหญ่” ว่ามาอย่างนี้ มันก็ชวนให้คิดได้ว่า“ภูมิใจไทยยังไม่เอาด้วย หรือไม่?” อาจเพราะเขาเห็นว่า “ส่วนที่มีปัญหากับพรรคการเมือง คือระบบเลือกตั้งบัตรใบเดียวก็แก้ไปแล้ว” และถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องประมวลจริยธรรม ไม่ต้องยกร่างใหม่ ก็แก้ มาตรา 219
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์ซึ่งสารตั้งต้นที่ให้ฝ่ายการเมืองใช้ประมวลฯเดียวกับศาลและองค์กรอิสระ ให้เรียบร้อย ดูกฎหมายที่เกี่ยวพันไปถึงการใช้จริยธรรมประหารทางการเมือง สื่อสารดีๆ ให้สังคมเข้าใจความจำเป็นแล้วแก้ไขส่วนที่ต้องแก้ไป และเชื่อว่าจากภาพเหตุการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา ปรากฏการณ์ “นักร้อง” ก็ทำให้ประชาชนเริ่มเห็นแล้วว่าปัญหาของประมวลจริยธรรมคืออะไร มันถ่วงให้ฝ่ายการเมืองที่ต้องบริหารประเทศทำงานไม่ได้อย่างไร
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์ท่าทีของพรรคภูมิใจไทยยังไม่พูดชัดว่า “ไม่ต้องแก้ให้ทันเลือกตั้ง” แต่รอดูสถานการณ์ไป อีกไม่นานก็รู้ว่า “จะได้ยกร่างทั้งฉบับในรัฐบาลนี้หรือไม่” หรือการแก้รายมาตราอาจเป็นทางออกที่ดี เพราะไม่ต้องทำประชามติ.
จับสัญญาณทำแท้งรธนใหม่เดลินิวส์很赞哦!(13)
相关文章
- อุทาหรณ์!หมอเตือนห้ามเจาะหูในหน้าหนาว หลังคนไข้สาวมาด้วยสภาพหูที่เป็นอย่างนี้ | เดลินิวส์
- สาวเปิดมหากาพย์58หน้าแฉบนออนไลน์ แฟนหนุ่มคบซ้อน300คนจนโดนไล่ออกจากงาน | เดลินิวส์
- ชาวเน็ตแห่ถาม 'ตำรวจ' อยู่ไหน? หลังมีหนุ่มเดินหาเรื่องคนขับรถกลางสี่แยก | เดลินิวส์
- โปรเด็ดต้องลอง!!! | เดลินิวส์
- โพลชี้ 'นายกฯอิ๊งค์' คะแนนพุ่ง แก้ปัญหาเร็ว | เดลินิวส์
- วันที่รอคอย! ลุงวัย 86 ปลูกป่า 30 กว่าปี รอมาทั้งชีวิต ได้รับอนุญาตให้ตัดได้แล้ว | เดลินิวส์
- เดลินิวส์ 24 ก.ย.ฝันสลายค่าแรง 400 บาท ปรับขึ้นไม่ทัน 1 ต.ค. | เดลินิวส์
- ’ญาญ่า อุรัสยา‘โชว์แหวนหมั้นเพชรโต ยังไม่พร้อมมีลูกขอแต่งงานก่อน! | เดลินิวส์
- จับอินไซด์เด็กรุ่นใหม่ Gen Z ยอมจ่ายเพิ่มซื้ออสังหารักษ์โลก แนะผู้ประกอบการลุยสีเขียวรับต้องการ | เดลินิวส์
- ความสุขของหมูเด้ง เปลี่ยนการออกแบบสวนสัตว์แบบใหม่ เน้น Animal Stewardship | เดลินิวส์
热门文章
- จับแล้วโรคจิตฉกชุดชั้นในสาวร้านซักผ้า สำเร็จความใคร่เสร็จนำมาวางคืน | เดลินิวส์
- 'หนิม คนึงพิมพ์'อุ้มท้อง4เดือน ร่วมเป็นสักขีพยานรัก ลั่นระฆังเข้าสู่ประตูวิวาห์! | เดลินิวส์
- ‘โฆษกพลังประชารัฐ’ย้ำพรรคค้านทุกมิติแก้รัฐธรรมนูญ-ม.112 | เดลินิวส์
- 'สมชัย' ชำแหละ 4 เหตุผล ทำไม 'เพื่อไทย' ถอยเรื่องแก้จริยธรรม | เดลินิวส์
站长推荐
Endpresso ปณิธานหวานน้อย | เดลินิวส์
"ทุเรียน"สงขลา สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ แนะปลุกทดแทนยางพารา | เดลินิวส์
ข่าว – เดลินิวส์
Fashion Set : ตัดเกรดคุณแม่คนสวย"บุ๋ม ปนัดดา"กับ 5 ลุคสวยดูดีพิชิตทุกความปัง | เดลินิวส์
ทรัมป์เสนอชื่อนักการเมืองหญิงดาวรุ่งรีพับลิกัน เป็นทูตสหรัฐประจำยูเอ็น | เดลินิวส์
อาชีพอิสระ ม.40 รับสิทธิคุ้มครอง กรณีทุพพลภาพ | เดลินิวส์
เลยอ่วมฝนตกหนักน้ำป่าทะลัก ท่วมบ้านเรือนประชาชนกว่า100หลัง | เดลินิวส์
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง 'ศาสตราจารย์' ในสาขาวิชาชีพต่างๆ รวม 33 ราย | เดลินิวส์